เมนู

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาณ ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์
ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เพราะปรารภจักษุ เป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น
ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
6. ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-
ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
ออกจากฌาน. ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์
ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น นีวรณธรรม และ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
7. นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
มี 3 วาระ (วาระ
ที่ 5- 6- 7) พึงกระทำว่า เพราะปรารภ.

3. อธิปติปัจจัย


[596] 1. นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
เพราะกระทำ นีวรณธรรมทั้งหลาย ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
นีวรณธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น. มี 3 วาระ เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.
(วาระที่ 1-2-3)
2. ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่
ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ บุคคลกระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อม
ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิด
ขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ มรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน
ฯลฯ.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ
จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ
ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
3. ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ
จักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ
ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนีวรณธรรม
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
4. ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-
ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ จักษุ ฯลฯ หทย-
วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว นีวรณธรรม และ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,
นีวรณธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
5. นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือเป็น อารัมมณาธิปติ มี 3 วาระ (วาระที่ 7-
8-9) เป็นอารัมมณาธิปติเท่านั้น.

4. อนันตรปัจจัย


[597] 1. นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ 2)